วันอังคารที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2562



🔻งานวิจัย ด้านคณิตศาสตร์  🔺



ชื่อผู้จัดทำ        รัชนก  ศรีชบา
สาขาวิชา         การศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
ปีที่จัดทำ                2560



ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
โรงเรียนสัตตปทุมบำรุง เป็นโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 2  นักเรียนไม่สามารถแทนค่า จำนวนตัวเลขไม่ได้และเติมจำนวนที่ขาดหายไปไม่ได้ เนื่องมาจาก นักเรียนขาดทักษะขั้นพื้นฐานในการจดจำรูปร่างลักษณะของตัวเลข ทำให้นับจำนวนไม่ถูกต้อง  ดังนั้นผู้วิจัยสนใจจะศึกษา การพัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์การรู้ ค่าจำนวน 1-10 ในระดับชั้นอนุบาล 1 โรงเรียนสัตตปทุมบำรุง ว่าชุด นิทานสามารถช่วยให้นักเรียนรู้ค่าจำนวน 1-10 ได้หรือไม่ อย่างไร


ขอบเขตของการวิจัย
กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นอนุบาล 1 /1 โรงเรียนสัตตปทุมบำรุง ชั้นอนุบาล 1 ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2560 จำนวน 5 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง เนื่องจากนักเรียนไม่รู้ค่า 1-10 เนื่องจากขาดทักษะขั้นพื้นฐานทาง คณิตศาสตร์ ไม่สามารถจดจำตัวเลขและรู้ค่าตัวเลข 1-10 ได้ถูกต้อง


สมมติฐานของการวิจัย
1.นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์การรู้ค่าจำนวน 1-10 มีความสามารถในการรู้ค่า
1-10 ผ่านเกณฑ์การประเมิน
2.นักเรียนมีทักษะทางคณิตศาสตร์การรู้ค่าจำนวน 1-10 หลังการ ใช้กิจกรรมชุดนิทาน สูงกว่าก่อนใช้กิจกรรม

ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา
ตลาดกันเถอะ จำนวน 1-10
2. นิทานมดแดงตุ้งแฉ่ง
ตัวแปรต้น คือ ชุดนิทาน
1. นิทานเก็บแอปเปิ้ลกันเถอะ
3. นิทานไป ตัวแปรตาม คือ ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ด้านการรู้ค่า

ระยะเวลาที่ดำเนินการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้จะดำเนินในระหว่างวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ.2560 ถึง วันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ.2560

J อธิบายผล J
        
    จากการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ด้าน การรู้ค่าจำนวน 1-10 ด้วยกิจกรรมชุดนิทาน ผู้วิจัยได้สังเกตพฤติกรรม และประเมินค่าคะแนนจากพฤติกรรมจำนวน 3 สัปดาห์ มีการการ ประเมิน 5 รายการ ดังนี้
1.โยงตัวเลข 1-10 ให้ตรงกับภาพที่กำหนดให้
2.ลากเส้น ตัวเลข 1-10 ให้ตรงกับภาพที่กำหนดให้ 3.เขียนตัวเลข 1-10 ให้ตรงกับจำนวนในภาพที่กำหนดให้ 4.เขียนจำนวนตัวเลข ให้ตรงกับภาพ 5.หยิบบัตรคำตัวเลขให้ตรงกับค่า 1-10 โดยมีคะแนนเต็มรายการละ 10 คะแนน ดังนั้นเด็กจะมีคะแนน
สำหรับการปฏิบัติ 1 รายการต่อวัน มีคะแนน 10 คะแนน เมื่อเด็กปฏิบัติ กิจกรมครบใน 1 สัปดาห์ หรือปฏิบัติกิจกรรมครบ 5 วัน คะแนนรวบจึง เป็นสัปดาห์ละ 50 คะแนน ผู้วิจัยจึงนำคะแนนในแต่ละสัปดาห์ของเด็ก ทุกคน มาแสดงเป็นคะแนนรวม จำนวน 3 สัปดาห์
            การพัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์ให้แก่เด็กเป็นสิ่งสำคัญที่เด็ก ต้องเรียนรู้ และมีทักษะทางคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน ทั้งนี้เด็กต้องมี ชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข นอกจากจะช่วยเหลือตนเองได้แล้ว ยังต้องเรียนรู้ทักษะการรู้ค่า การวัด การจำแนก การเปรียบเทียบ เพราะ สิ่งเหล่านี้ก็ต้องเจอในการใช้ชีวิตประจำวันของเด็กด้วย ซึ่งทั้งหมดนี้ยัง สอดคล้องกับแนวคิดของ

ดูเพิ่มเติมได้ที่ -->  https://wbscport.dusit.ac.th/artefact/file/download.php?file=207136&view=149308



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

➤สวัสดีค่ะ วันนี้เป็นการเรียนคาบสุดท้าย ที่3 พค. 2562 อาจารย์ให้ทำมายแม็บสรุป  เรื่องเกี่ยวกับคณิตศาสตร์   🔺คณิตศาสตร์สําหรับปฐมวัย...